วันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บทที่ 1 : ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ

ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง
- เราเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ปรากฏไปบนท้องฟ้าและตกทางทิศตะวันตก เราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า
การขึ้นตกของดวงอาทิตย์
นิโคลัส โคเพอร์นิคัส เป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่ได้รับการยอมรับในการเสนอแนวคิดที่ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ
และโลกเป็นเพียงดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์
- โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศ W ไปทิศ E 1 รอบใช้เวลา 1 วัน ท าให้คนบนโลกสังเกตเห็นดวงอาทิตย์เคลื่อนที่จากทิศ E ไปทิศ W
- การขี้นตกของดวงอาทิตย์ ท าให้เกิดปรากฏการณ์ขึ้นตกของ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์ อีกด้วย
สรุปได้ว่า โลกเป็นตัวเคลื่อนที่ แต่เหมือนว่าวัตถุท้องฟ้าอื่นๆเคลื่อนที่ เราเรียกลักษณะที่สังเกตเห็นนี้ว่า “การเคลื่อนที่ปรากฏ”
- ขอบฟ้า คือ บริเวณรอยต่อระหว่างท้องฟ้า พื้นดิน และพื้นน้ า ที่เราสังเกตเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นและตกบริเวณนั้น
 ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
- เมื่อเราขยายขอบเขตของโลกเข้าไปในอวกาศ จะได้ทรงกลมสมมติครอบโลกอยู่ เรียกว่า ทรงกลมฟ้า (The Celestial Sphere)
- หากเราขยายเส้นศูนย์สูตรออกไปยังทรงกลมฟ้า จะได้ เส้นศูนย์สูตรฟ้า
- หากเชื่อต่อแนวขั้วโลกเหนือชี้ไปยังทรงกลมฟ้า จะเป็น ขั้วฟ้าเหนือ (North Celestial Pole ; NCP)
- หากเชื่อต่อแนวขั้วโลกใต้ชี้ไปยังทรงกลมฟ้า จะเป็น ขั้วฟ้าใต้ (South Celestial Pole ; SCP)
- โลกหมุนรอบตัวเอง โดยหมุนรอบแกนสมมติที่ผ่านขั้วโลกเหนือ ขั้วโลกใต้ และจุดศูนย์กลางของโลก แกนนั้นเรียกว่า แกนโลก
- แกนโลกหมุนเอียงท ามุมประมาณ 23.5 องศา
- 21 มิถุนายน โลกซีกโลกเหนือเข้าหา Sun จึงเป็นวันเริ่มต้นฤดูร้อนของซีกโลกเหนือ
- 22 ธันวาคม โลกซีกโลกเหนือออกจาก Sun จึงเป็นวันเริ่มต้นฤดูหนาวของซีกโลกเหนือ
- 21 มีนาคม และ 23 กันยายน โลกหันบริเวณศูนย์สูตรเข้าหา Sun เป็นช่วงฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง ตามลำดับ
- ในประเทศที่อยู่บริเวณศูนย์สูตร ฤดูจะไม่แตกต่างกันมากนัก
- โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะเอียง ท าให้ส่วนต่างๆของโลกได้รับแสงต่างกัน ท าให้เกิดฤดูต่างๆบนโลก
- ประเทศไทย ดวงอาทิตย์จะขึ้นเร็วในช่วง ครึ่งปีแรก
- 21 มีนาคม Sun ขึ้นตรงกับทิศ E พอดี และต าแหน่งขึ้นจะค่อยๆเลื่อนไปทางทิศ EN
- 21 มิถุนายน Sun ขึ้นทางทิศ E เฉียง N ประมาณ 23.5 องศา
- 23 กันยายน Sun ขึ้นตรงกับทิศ E พอดีอีกครั้งหนึ่ง
- 22 ธันวาคม Sun ขึ้นทางทิศ E เฉียง S ประมาณ 23.5 องศา จากนั้นต าแหน่งจะค่อยๆเลื่อนกลับมาที่ทิศ E อีกในวันที่ 21 มีนาคม

ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ศูนย์กลางของระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,392,000 กิโลเมตร มีมวล 2x10 ยกกำลัง 30 กิโลกรัม มีระยะห่างโลกเฉลี่ย 1.49x10 ยกกำลัง 8 กิโลเมตร มียานที่ใช้ส ารวจดวงอาทิตย์ เช่น ยานไพโอเนียร์ ยานโยโกะ ยานยูซิลิส เป็นต้น

  ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
1. ข้างขึ้น-ข้างแรม
- ในเวลาเดียวกันของทุกคืน ต าแหน่งดวงจันทร์บนท้องฟ้าจะไม่อยู่ที่เดิม และส่วนสว่างหรือรูปร่าง
ของดวงจันทร์จะไม่เหมือนเดิม ปรากฏการณ์ที่เห็นดวงจันทร์มีเสี้ยวสว่างแตกต่างกัน เรียกว่า
ข้างขึ้นข้างแรม หรือ ดิถีจันทร์
- ดวงจันทร์สว่างเต็มดวง > ส่วนสว่างลดลงจนมืดทั้งดวง = ข้างแรม
- ดวงจันทร์มืดทั้งดวง > สว่างเต็มดวง = ข้างขึ้น
- วันที่ดวงจันทร์มืดทั้งดวง แรม 14/15 ค่ า = จันทร์ดับ (Moon อยู่ระหว่าง Earth กับ Sun)
- วันที่ดวงจันทร์สว่างเต็มดวง ขึ้น 15 ค่ า = จันทร์เพ็ญ

- ดวงจันทร์สว่างครึ่งดวงในวัน 8 ค่ า เพราะดวงจันทร์ท ามุมฉากกับโลกและดวงอาทิตย์


2. น้้าขึ้นน้้าลง
- เป็นผลมาจากแรงโน้มถ่วงที่กระท าระหว่างโลกและดวงจันทร์ ซึ่งมีค่าไม่เท่ากันในแต่ละ
ต าแหน่งบนพื้นผิวโลก เรียกว่า แรงไทดัล
- น้ าด้านที่อยู่ใกล้ดวงจันทร์ จะถูกแรงดึงดูดเข้าไปหาดวงจันทร์มากกว่าน้ าที่อยู่อีกซีกโลก
หนึ่ง ท าให้อีกด้วนที่แอยู่ใกล้กับดวงจันทร์เกิด ปรากฏการณ์น้้าขึ้น
- ขณะที่น้ าขึ้นที่บริเวณที่อยู่ใกล้และไกลที่สุดของดวงจันทร์จะเกิด น้้าลง ขึ้นพร้อมๆกัน
- การที่โลกมีการหมุนรอบตัวเองท าให้ด้านที่โลกหันเข้าหาดวงจันทร์มีการเปลี่ยนแปลงไปใน
รอบ 1 วัน จึงท าให้เดกิดน้ าขึ้นน้ าลงในแต่ละบริเวณประมาณ 2 ครั้ง/วัน
- วันแรม 14/15 ค่ า หรือวันขึ้น 15 ค่ า ระดับน้ าทะเลจะขึ้นสูงสุด เพราะแรงไทดัลจากดวง
อาทิตย์เสริมแรงไทดัลจากดวงจันทร์
- วันขี้น/แรม 8 ค่ า น้ าทะเลจะขึ้นต่ าสุด เพราะแรงไทดัลจาก Moon หักล้างแรงไทดัลจาก Sun
- วันที่น้ าทะเลขึ้นลงสูงสุด = วันน้ าเกิด // วันที่น้ าทะเลขึ้นลงน้อย = วันน้ าตาย


3. อุปราคา
สุริยุปราคา
- ผู้สังเกตบนโลกมองเห็น Sun มืดทั้งดวง หรือมืดบางสว่วน เนื่อจาก Sun Moon Earth เคลื่อนมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
Moon บดบัง Sun และเงาของ Moon ตกลงบนโลก


จันทรุปราคา
- ผู้สังเกตบนโลกมองเห็น Moon มืดทั้งดวงหรือมืดบางส่วน เนื่องจาก Sun Moon Earth เคลื่อนมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และ
เงาของโลกตลกลงบน Moon



อุปราคา เกิดจากการที่ Earth Moon Sun โคจรมาอยู๋ในเส้นตรงเดียวกันระนาบเดียวกัน ระนาบของการโคจรหนึ่งรอบของดวงจันทร์
= 1 เดือน ของดวงอาทิตย์ = 1 ปี โดยระนาบทั้งสองเอียงท ามุมกัน 5 องศา 8 ฟิลิปดา ดังนั้นจึงไม่เกิดอุปราคาทุกเดือน


ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
- ดาวเคราะก์ หมายถึงวัตถุที่... 1.โคจรรอบดวงอาทิคย์ 2.มีมวลมากพอที่ท าให้รูปร่างใกล้เคียงทรงกลม 3. ไม่มีวัตถอื่นที่มีขนาดใกล้เคียง
กัน และลักษณะทางการยภาพคล้ายคลึงกันอยู่ใกล้วงโคจร
- ดาวเคราะห์แคระ หมายถึงวัตถุที่... 1.โคจรรอบดวงอาทตย์ 2.มีมวลมากพอที่ท าให้รูปร่างใกล้เคียงทรงกลม 3.ไม่มีวัตถอื่นที่มีขนาด
ใกล้เคียงกัน และลักษณะทางการยภาพคล้ายคลึงกันอยู่ใกล้วงโคจร 4.ไม่ใช่ดวงจันทร์บริรวารของดาวเคราะห์
- ถ้าใช้ระยะห่างเป็นเกณฑ์ จะแบ่งดาวเคราะห์ได้ 2 ประเภท คือ 1.อยู๋ใกล้ดวงอาทิตย์4ดวง (ดาวเคราะห์ชั้นใน) = พุธ ศุกร์ โลก อังคาร
2. อยู่ไกลดวงอาทิตย์ 4 ดวง (ดาวเคราะห์ขั้นนอก) = พฤหัสบดี เสาร์ ยูเรนัส เนปจูน
- ดาวเคราะที่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า = 5 ดวง คือ พุธ ศุกร์ อังคาร พฤหัส เสาร์
- ดาวเคราะห์ที่มีวงแหวนล้อมรอบ = 4 ดวง คือ พฤหัส เสาร์ ยูเรนัส เนปจูน


ดาวเคราะห์น้อย เป็นก้อนหินแข็ง มีขนาดเส้นผศก.หลายเมตร-หลายร้อยกิโลเมตร พบได้ในระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัส
สะเก็ดดาว วัตถุที่เล็กกว่าดาวเคราะห์น้อย
ดาวหาง วัตถุท้องฟ้าที๋โคจรรอบดวงอาทิตย์ ส่วนมหญ่มาจากขอบนอกของระบบสุริยะเรียกว่าดงดาวหาง ของออร์ต มีใจกลางหัวที่ระเหิด
เป็นไอเมื่อใกล้ดวงอิทตย์ ท าให้เกิดชั้นฝุ่นและแก๊สฝ้ามัวเหยียดออกไปไกลเหมือนหางของดาว หางของดาวหางจะมี 2 หาง คือหางที่เป็น
ฝุ่น และแก๊สที่สะท้อนแสงอาทิตบ์
ฝนดาวตก ดาวหางที่มีวงโคจรตัดผ่านทาโคจรของโลก แล้วทิ้งเศษฝุ่นหินแก๊สไว้ แล้วเศษเหล่านั้นตกลงสู่บรรยากาศโลก เกิดการลุกไหม้
เป็นดาวตกจำนวนมากซึ่งเรียกว่า ฝนดาวตก

พัฒนาการของแบบจ้าลองระบบสุริยะ
อริสโตเติล น าเสนอรูปแบบจักรวาลโดยมีโลกเป็นศูนย์กลาสงจักรวาล ดวงอาทิตย์ดวงจันทร์ดาวอื่นๆโคจรรอบโลก นิโคลัส โคเปอร์นิคัส (Poland) เสนอแนวคิด ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ โลกเป็นเพียงดาวเคราะห์ดวงหนึ่งที่โคจรรอบดวงอาทิตย์
ทิโค บราห์ (Denmark) เริ่มสังเกตและบันทึกตำแหน่งการเคลื่อนที่ของดาวอย่างละเอียด สรุปว่าดาวเคราะห์ต่างก็โคจรรอบดวงอาทิตย์และดวงอาทิตย์โคจรรอบโลกโดยโลกอยู่กับที่
โยฮันเนส เคปเลอร์ (German) ตั้งกฎการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ไว้ 3 ข้อ เรียกว่า กฎเคปเลอร์ กาลิเลโอ (Italy) ได้น ากล้องโทรทรรศน์มาส่องสังเกตดาวเคราะห์บนฟ้า และค้นพบข้อเท็จจริงที่สนับสุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัส ไอแซก นิวตัน (England) ค้นพบว่าการที่บริวารของดวงอาทิตย์สามารถโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้ เพราะแรงดึงดูดระหว่างมวล ที่เรียกว่าแรงโน้มถ่วง



บทที่ 2 : ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
- ดาวเคราะห์ที่เห็นด้วยตาเปล่าส่วนใหญ่จะปรากฏสว่างกว่าดาวฤกษ์ เพราะอยู่ใกล้โลกมากกว่าและมีการเคลื่อนที่ต่างกันไป
- ในแต่ละคืนพบว่าดาวมีการเปลี่ยนต าแหน่งบนท้องฟ้า เรียกว่า การเคลื่อนที่ปรากฏ จากทิศ E ไป W เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง
จากทิศ W ไป E
- ตำแหน่งของดาวอาจบอกเวลาขึ้น หรือ โผล่พ้นขอบฟ้าทางทิศ E
- ตำแหน่งของดาวเทียบกับขอบฟ้ามีความสัมพันธ์กับเวลาที่ท าการสังเกต
การบอกต้าแหน่งของวัตถุท้องฟ้า
- สามารถบอกพิกัดได้โดยใช้ ละติจูด ลองจิจูด
- บอกตำแหน่งวัตถุบนท้องฟ้าสามารถบยอกได้โดยใช้ มุมห่าง มุมทิศ และ มุมเงย



มุมห่าง คือระยะเชิงมุมระหว่างดาวอาทิตย์กับดาวเคราะห์ หรือดวงจันทร์จากมุมมองของผู้สังเกตบนโลก
มุมทิศ (azimuth) เป็นมุมในแนวราบขนานกับเส้นขอบฟ้า นับจากทิศเหนือในทิศทางตามเข็มนาฬิกาไปยังทิศตะวัน-ออก ทิศใต้ ทิศตะวันตก และกลับมายังทิศเหนืออีกครั้ง มีค่า 0-360 องศา
มุมเงย (altitude) เป็นมุมในแนวตั้งหรือมุมที่มองขึ้นสูงจากขอบฟ้า นับจากเส้นขอบฟ้าขึ้นไปสู่จุดเหนือศีรษะ มีค่า 0-90 องศาจุดเหนือศีรษะ (zenith) คือจุดสูงสุดบนขอบฟ้า จะอยู่ตรงศีรษะพอดี จุดเหนือศีรษะจะท ามุมกับผู้สังเกตและขอบฟ้าทุกๆ ด้านเป็นมุมฉากพอด

- ในการบอกระยะเชิงมุมของดาวที่มีระยะห่างจากโลกมากๆนั้น ท าให้ผู้สังเกตที่อยู่ในต าแหน่งแตกต่างกันบนโลก สามารถสังเกตระยะ
เชิงมุมของดาวคู่เดียวกันได้ตรงกัน เพราะโลกมีขนาดเล็กมากเหมือนจุดๆหนึ่ง
(ระยะเชิงมุมระหว่างด่าว 2 ดวง คือ มุมระหว่างรัศมีที่ลากจากจุดศูนย์กลางของโลกไปยังดาวทั้งสอง)
กลุ่มดาว
- ผู้สังเกตอาจมีจินตนยาการรูปรน่างของกลุถ่มดาวแตกตางไปตามประสลบการณ์
- นักดาราศาสตร์แบ่งท้องฟ้า เป็น 88 เขตตามกลุ่มดาว = มี 88 กลุ่มดาวบนท้องฟ้า
กลุ่มดาวจระเข้
- สังเกตง่าย เพราะเป็นดาวเรียงเด่น
- ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ช่วงหัวค่ า จะเห็นกลุ่มดาวจระเข้ขึ้นทางทิศ EN และตก
ทางทิศ WN
- ประกอบด้วยดาวฤกษ์อย่างน้อย 7 ดวง
- สิ่งที่เห็น = ชาวจีน:กระบวยตักน้ า, ชาวกรีก:หมีใหญ่, คนไทย:จระเข้ (4ดวงแรก-
ลำตัว 3ดวงหลังเป็นหาง)
- ขณะที่กลุ่มดาวจระเข้ขึ้นจากของฟ้า จะเห็นล าตัวก่อนแล้วจึงเห็นหาง
- ถ้าลากเส้นตรงจากดวงที่ 2ถึง1 ต่ออกไปประมาณ 5 เท่าครึ่งของระยะห่งระหว่างดาว 1,2 จะพบดาวเหนือเสมอ


กลุ่มดาวค้างคาว
- ประกอบด้วยดาว 5 ดวง
- ขณะเราสังเกตเห็นกลุ่มดาวจระเข้ทางขอบฟ้าทิศ EN กลุ่มดาวค้างาวจะอยู่บนฟ้าทิศ WN
คือก าลังจะลับขอบฟ้า
- ถ้าลากเส้นตรงแบ่งมุม1,3 ลากลงมา 6 เท่าของระยะระหว่างดาวดวงที่1,2 จะพบดาวเหนือ
- กลุ่มดาวค้างคาวและจระเข้ จะขึ้นอยู่คนละซีกของท้องฟ้าเสมอ


กลุ่มดาวนายพราน
- สังเกตได้ในขอบฟ้าทิศ E ช่วงหัวค่ าของฤดูหนาวเดือนธันวาคม
- ประกอบด้วยดาวฤกษ์ที่สังเกตได้อย่างน้อย 8 ดวง 4 ดวงเรียงกันเป็นล้อมรอบดาวอีก 3 ดวงที่เรียงเป็นเส้นตรง
- คนไทยจินตนาการดาว 4 ดวงว่าเป็นขาเต่า (ระหว่าง2ขาหน้ามีดาวเล็กๆอีกดวง) หัวของเต่าคือดาว3ดวงติดกัน เรียกว่า “ดาวไถ”
- ชาวกรีกเห็นเป็นนายพราน 2 ดวงบนเป็นไหล่ ส่วน3ดวงเป็นเข็มขัด 2ดวงล่างเป็นขา
- หัวเต่า จะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ


กลุ่มดาวจักรราศี


- คนบนโลกจะเห็น Sun ปรากฏในกลุ่มดาวกลุ่มหนึ่ง เนื่องจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
- ในแต่ละวันเราจึงเห็นว่าดวงอาทิตย์ เปลี่ยนต าแหน่งผ่านกลุ่มดาว เป็นระยะเชิงมุมวันละ 1 องศา
- ใน 1 เดือนจะสังเกตว่าดาวอาทิตย์เคลื่อนที่ผ่านกลุ่มดาว 1 กลุ่ม
- เมื่อครบ 1 ปี ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ปรากฏผ่านกลุ่มดาว 1 กลุ่ม
- เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏอยู่ในกลุ่มดาวใด เราจะมองไม่เห็นกลุ่มดาวนั้นในช่วงนั้น เพราะดวงอาทิตย์ และดาวกลุ่มนั้นขึ้นตกพร้อมๆกัน
เช่น เดือสิงหาคม หัวค่ ากลุ่มดาวสิงห์อยู่ต่ ากว่าขอบฟ้าทางตะวันตกพร้อมดวงอาทิตย์ กลุ่มดาวที่สูงสุดคือกลุ่มดาวแมงป่อง
- กลุ่มดาวที่สีงเกตได้ง่ายในท้องฟ้าซีกเหนือ คือกลุ่มดาวสิงห์ มิถุน และพฤษภ
- ดาวที่มองเห็นชัดที่สุดในกลุ่มดาวสิงห์ คือดาวหัวใจสิงห์
- ดาวที่มองเห็นชัดที่สุดในกลุ่มดาวพฤษภ คือดาวตาวัว (ต่ ากว่าตาวัว คือ กระจุกดาวลูกไก่)
- กลุ่มดาวที่สังเกตได้ง่ายในท้องฟ้าซีกใต้ คือกลุ่มดาวพฤศจิก ดาวที่มองเห็นชัดที่สุด คือดาวปาริชาต

ทางช้างเผือก
ในคืนที่ท้องฟ้าแจ่มใส ไร้เมฆหมอก คืนเดือนมืด จะเห็นฝ้าขาวๆเป็นแถบพาดผ่านท้องฟ้า นั่นคือ ทางช้างเผือก ซึ่งประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมาก 

บทที่ 3 : เทคโนโลยีอวกาศ

- กาลิเลโอเป็นนักวิทยาศาสตร์คนแรกที่สร้างกล้องโทรทรรศน์ขชึ้นเพื่อสังเกตวัตถุท้องฟ้า มีก าลังขยายเพียง 3 เท่า แต่ก็ค้นพบสิ่งใหม่ๆ
เช่น เห้นดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวงของดาวพฤหัส หลุมบนดวงจันทร์ จุดดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์จ านวนมาก
- ยุคส ารวจอวกาศสเริ่มอย่างจริงจังเมื่อสหภาพโซเวีจตส่งดาวเทียมสปุตนิก1 ในปี2500ได้ส าเร็จ และอเมริกาส่งดาวเทียม Explorer เข้า
สู่วงโคจรของโลกในปี2501

กล้องโทรทรรศน์
แบบหักเหแสง
- เหมาะกับการสังเกตพื้นผิวของดวงจันทร์และดาวเคราะห์
- การสังเกตเนบิวลา,กาแล็กซี ซึ่งมีความสว่างน้อย จึงจ าเป็นต้องใช้ก าลังในการรวมแสงมาก เลนส์ต้องมีขนาดใหญ่ ล ากล้องต้องยาวมาก
และมีน้ าหนักมาก
- ยุคแรกมีปัญหาเรื่องภาพที่เห็นมีความคลาดสี เห็นเป็นสีรุ้ง
แบบสะท้อนแสง
- เซอร์ไอแซก นิวตันเป็นคนผลิตกล้องนี้เพื่อแก้ปัญหาคลาดสีในกล้องหักเห
- ใช้กระจกเวาแทนเลนส์ใกล้ตา (ท าหน้าที่รับและรวมแสงจากวัตถุไปยังกระจกเงาราบ สะท้อนไปยังเลนส์ใกล้ตาซึ่งท าให้เกิดภาพขยาย)
- เราสามารถสร้างกล้องให้มีขนาดใหญ่ได้ โดยเพิ่มขนาดของกระจกเว้า ซึ่งจะมีน้ าหนักน้อยกว่าเลนส์

กล้องโทรทรรศน์วิทยุ
- อุปกรณ์ที่ตรวจรับคลื่นวิทยุจากดวงดาว (วัตถุท้องฟ้าสามารถให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตามองไม่เห็นได้)
ดาวเทียมและอวกาศ
- กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (รับพลังงานช่วงคลื่นแสง) หรือ กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา (รับพลังงานช่วงรังสีเอ๊กซ์) เป็นกล้อง
ที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก เพื่อศึกษาข้อมูลทางด้านดาราศาสตร์
- สิ่งที่มนุษญ์สร้างขึ้นแล้วส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เรียกว่า ดาวเทียม
- ดาวเทียมสามารถโคจรรอบโลกได้ โดยอาศัยหลักการเดียวกับดวงจันทร์โคจรรอบโลก คือ ณ ระดับความสูงจากผิวโลกระดับหนึ่ง
ดาวเทียมจะต้องมีอัตราเร็วในการโคจรรอบโลกค่าหนึ่ง มิฉะนั้นอาจตกลงสู่โลกหรือหลุดจากวงโคจรรอบโลกได้
- วงโคจรดาวเทียม 3 ระดับ คือ (1)วงโคจรระดับต่ า อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 800-1,500 km (2)วงโคจรระดับกลางอยู่สูงจากผิวโลก
ประมาณ 9,900-19,800 km (3)วงโคจรค้างฟ้า อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 35,000 km ที่ระดับนี้ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกไปทาง
เดียวและเร็วกับอัตราการหมุนรอบตัวเองของโลก


ดาวเทียมธีออส เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลระยะไกล ใช้สำรวจทรัพยากรธรรมชาติของไทย เพื่อเตรียมรับมือภัยพิบัติต่างๆ เกิดจากความ
ร่วมมือของรัฐบาลไทย-ฝรั่งเศส
ดาวเทียมไทยคม เป็นดาวเทียมสื่อสารของไทย เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญานดาวเทียม มีทั้งหมด 5 ดวง ชื่อไทยคมได้รับ
พระราชทานนามจากในหลวง ร.9 มาจาก Thai communications

ประโยชน์จากดาวเทียม
1. เพื่องานวิจัย น าข้อมูลมาวิเคราะห์หาจุดก าเนิดของวัตถุท้องฟ้า เช่น ข้อมูลจากดาวเทียม SOHO
2. เพื่อการอุตุนิยมวิทยา ใช้ส ารวจเมฆสภาพอากาศ เพื่อข้อมูลที่แม่นย า เช่น ข้อมูลจากดาวเทียม GOES-J
3. เพื่อการส ารวจโลก ส ารวจแหล่งทรัพยากรต่างๆ เช่น ข้อมูลจากดาวเทียม THEOS
4. เพื่อการสื่อสาร ใช้ประโยชน์เรื่องการสื่อสารระยะไกล เช่น ข้อมูลจากดาวเทียมไทยคม
5. เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงของวประเทศ เช่น ดาวเทียมจารกรรม ที่บันทึกการเคลื่อนไหววัตถุโดยใช้ช่วงคลื่นอินฟราเรด

ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก GPS เป็นระบบที่ใช้ระบุตำแหน่งบนโลก โดยอาศัยข้อมูลจากดาวเทียม 24 ดวงที่โคจรรอบโลก การยืนยัน
ตำแหน่งต้องอาศัยพิกัดดาวเทียมอย่างน้อิย 4 ดวง

ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม
- ส่วนใหญ่ใช้ส ารวจดวงจันทร์ ดวงอาทิตบ์ และดาวเคราะห์ เช่น โครงการเรนเจอร์(ศึกษาการพุ่งชนของยานอวกาศบนผิวดวงจันทร์),
โครงการเซอร์เวเยอร์ และยานอวกาศอื่นๆที่ไปส ารวจดาวอื่นๆ เช่น ยานมารีเนอร์ ยานกาลิเลโอ

ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม
- เป็นยานที่มีนักบินอวกาศขึ้นไปยานเพื่อเก็บข้อมูลท าการทดลองหรือลงส ารวจดาว เช่น โครงการเจมินี อะพอลโล
- การสร้างยานอวกาศ ต้องมีการสร้าง กระสวยอวกาศ ที่เป็นยานอวกาศแบบมีมนุษย์อยู่ในยาน และน ากลับมาสู่โลกเพื่อส่งขึ้นไปใหม่ได้
- การสร้างห้องทดลองในอวกาศ เรียกว่า สถานีอวกาศ เพื่อให้มนุษย์ไปอาศัยอยู่ในสภาพไร้น้ าหนักเพื่อปฏิบัติภารกิจที่เกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

การใช้ชีวิตในอวกาศ
- ชีวิตความเป็นอยู่จะแตกต่างจากการใช้ชีวิตบนโลกซึ่งต้องต่อสู้กับแรงโน้มถ่วง
- อาหารที่นักบินอวกาศจะมีหลายรูปแบบ เช่น อาหารที่ระเหยน้ าออกไปมีลักษณะแห้งแข็งเป็นผง เมื่อต้องการกินก็เติมน้ าเข้าไป (น้ำได้
จากระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าบนยานอวกาศ
- การนอนในถุงนอนซึ่งยึดติดกับยาน โดยมีระบบปรับความดันถุงนอนด้านสัมผัสกับหลังให้เสมือนนอนบนที่นอน